เปิดประวัติ ศาสตราจารย์เข็มชัย ชุติวงศ์ อัยการสูงสุด คนที่ 14 ของไทย

เปิดประวัติ ศาสตราจารย์เข็มชัย ชุติวงศ์ อัยการสูงสุด คนที่ 14 ของไทย

ตำแหน่งอัยการสูงสุดเป็นตำแหน่งของผู้บังคับบัญชาสูงสุดของเหล่าบรรดาพนักงานอัยการในสำนักงานอัยการสูงสุด หน้าที่หลักของอัยการก็คือเป็นทนายแผ่นดินหรือนักกฎหมายให้กับรัฐซึ่งรับผิดชอบดำเนินคดีอาญาในฐานะของรัฐ มีสิทธิ์มอบอำนาจให้กับพนักงานอัยการที่อยู่ใต้บังคับบัญชาของตนเองได้ ในอดีตตำแหน่งนี้ถูกเรียกว่า อธิบดีกรมอัยการ กระทั้งเมื่อปี 2534 ก็ได้ถูกสั่งให้แยกออกเป็นหน่วยงานราชการอิสระไม่ขึ้นสังกัดกับฝ่ายราชการใดๆ ทั้งสิ้น แต่จะอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของนายก

อัยการ

ย้อนรอยกรณี อัยการสูงสุดอธิบายกรณีทายาทกระทิงแดงชนตำรวจขาดอายุความ และไม่มาพบอัยการตามนัด

เป็นกรณีที่เกี่ยวข้องกับอุบัติเหตุขับรถชนแล้วหนีของทายาทเครื่องดื่มชูกำลังยี่ห้อดังโดยในเรื่องนี้โฆษกสำนักงานอัยการสูงสุดได้มีการชี้แจงเกี่ยวกับคดีดังกล่าวว่ามันขาดอายุความไปตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 แล้ว ส่วนทางด้านของตำรวจนครบาลก็มีการยืนยันว่า กฎหมายนั้นมีเอาไว้สำหรับการปกป้องคนดีไม่ว่าจะเป็นคนจนหรือคนรวยหากทำผิดกฎหมายก็ต้องมีการดำเนินคดีที่เท่าเทียมกัน

อัยการ

อัยการสูงสุดทำการตรวจสอบกรณีนายปรเมศวร์โพสต์เฟซบุ๊กถึง “บิ๊กตู่ – วิษณุ”

เรือโท สมนึก เสียงก้อง ในตำแหน่งโฆษกสำนักงานอัยการสูงสุด ก็ได้มีการออกมาระบุว่า ทางอัยการสูงสุดมีคำสั่งให้นายประณต ผ่องแผ้ว ในฐานของผู้ตรวจการอัยการสูงสุด ทำการตรวจสอบข้อแท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวพร้อมทั้งมีการเสนอความเห็นต่ออัยการสูงสุดด้วย สืบเนื่องจากกรณีที่นายปรเมศวร์ อินทรชุมนุม ดำรงตำแหน่งรองอธิบดีอัยการสำนักงานคดีอาญา ทำการโพสต์ข้อความลงในเฟซบุ๊กส่วนตัวเพื่อเผยแพร่ให้กับสาธารณชน

อัยการ

ศาลมีกี่ชั้น ประกอบด้วยศาลอะไรบ้าง

หากจะพูดถึงเรื่องศาลในประเทศไทยเองก็มีอยู่ด้วยกันหลากหลายประเภท อาทิ ศาลรัฐธรรมนูญ, ศาลยุติธรรม, ศาลปกครอง และศาลทหาร แต่ศาลที่ดูจะใกล้ชิดกับชาวบ้านธรรมดาอย่างเราๆ ท่านๆ มากที่สุดก็คงจะหนีไม่พ้นศาลยุติธรรมที่ถือว่าเป็นศาลอันมีหน้าที่ในการพิพากษาคดีทั้งหมดทั้งมวล ยกเว้นคดีที่รัฐธรรมนูญหรือกฎหมายได้บัญญัติขึ้นให้ศาลอื่นเป็นผู้ตัดสิน

ภาระหน้าที่ของอัยการสูงสุดที่ควรรู้

ขอบเขตและอำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานอัยการ มีหลายระดับชั้นด้วยกัน ทั้งนี้ เราไม่สามารถแยกออกได้จากอำนาจหน้าที่ของสำนักงานอัยการสูงสุดและจากของเจ้าพนักงานอัยการได้ เพราะนโยบายและข้อกำหนดทางกฎหมายที่มอบอำนาจให้สำนักงานอัยการสูงสุด ก็คือ Policy ที่เจ้าพนักงานทุกคนต้องรับไปปฎิบัติตามนั้น วันนี้เรามาลองดูจากในข้อกฎหมายว่า มีอำนาจหน้าที่อะไรบ้าง

ประวัติและความเป็นมาของอัยการ

บทบาทหน้าที่ของอัยการก็คือการเป็นเจ้าพนักงานที่ต้องฟ้องร้องดำเนินคดีกับจำเลย หรือช่วยว่าความให้กับฝ่ายโจทก์ หรือผู้ร้องทุกข์ ซึ่งอัยการจะเป็นเจ้าหน้าที่ของภาครัฐ ดังนั้นลักษณะของอัยการจึงมักต้องมีความเที่ยงตรง ยุติธรรม ชัดเจนในข้อกฎหมาย ในการที่จะเอาผิดต่อผู้ต้องหา อัยการจึงเป็นส่วนสำคัญในกลไกของระบบยุติธรรมสากล

เส้นทางการเดินทางของอาชีพอัยการที่ควรรู้

  อัยการเป็นตำแหน่งเจ้าพนักงานของรัฐในการรับคำร้องจากพนักงานสอบสวน แล้วพิจารณาเห็นควรว่า จะดำเนินคดีฟ้องร้องแล้วส่งไปชั้นศาลหรือไม่ ถ้าต้องฟ้องร้องเอาผิดจำเลยหรือผู้ต้องหาในคดี แล้วฝ่ายโจทก์ไม่มีทนายความ รัฐก็จะให้อัยการเป็นผู้ดำเนินการฟ้องร้องในคดีให้ จากบทบาทหน้าที่ในภาพรวม จะเห็นว่าอัยการจำเป็นต้องมีความรอบรู้และแม่นยำในข้อกฎหมายสูง เพราะเกี่ยวพันกับชีวิตผู้คน ความเดือดร้อนที่ผู้คนได้รับ จนถึงขั้นมี

ผู้พิพากษากับอัยการคืออะไรและมีหน้าที่แตกต่างกันอย่างไร

ผู้พิพากษา และอัยการ ถือว่าเป็นเจ้าหน้าที่สำคัญของฝ่ายรัฐในระบบยุติธรรมด้วยกันทั้งคู่ เด็กๆน้องๆที่กำลังศึกษาอยู่ หรือคนทั่วไปที่ไม่มีความรู้ในเรื่องนี้อาจสงสัยว่า แล้วทั้งสองฝ่ายมีหน้าที่แตกต่างกันอย่างไร ก่อนอื่นลองนึกภาพที่ปรากฏในภาพยนตร์ต่างประเทศดูครับ โดยเฉพาะพวกหนังเกี่ยวกับการต่อสู้ในชั้นศาล มีหลายเรื่องมาก ตรงนี้จะช่วยให้ง่ายขึ้น เพราะเราจะเห็นว่า

ระบบศาลของไทยเป็นแบบใด มีอะไรบ้าง

ระบบศาลไทย เป็นอย่างไร มีแบบไหนบ้าง ต้องทำความเข้าใจก่อนว่า ระบบศาลในแต่ละประเทศทั่วโลกก็จะแตกต่างกันไป แม้จะมีจุดร่วมหลักที่เป็นสากลอยู่บ้าง แต่ในรายละเอียดแล้วก็จะมีบางจุดที่ไม่เหมือนกัน ในกรณีของไทย ใช้ระบบศาลคู่ หมายความว่า มีทั้งการไต่สวน และ การกล่าวหา เพื่อเป็นการแยกระบบของผู้พิพากษาและแยกองค์กรศาลปกครองออกจากระบบศาล