ทฤษฎกีารสร้างความรู้

ทฤษฎีการสร้างความรู้ (Knowledge Creating) เน้นการสร้างนวัตกรรมโดยการสร้างกระบวนการเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Conversion) ระหว่างความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) และ ความรู้ที่อยู่ในตัวบุคคล(Tacit Knowledge) ในแบบจาลอง SECI (Socialization, Externalization, Combination and Internalization)

ทฤษฎกีารเรียนรู้แบบวงคู่

ทฤษฎีการเรียนรู้แบบวงคู่ (Double-Loop Learning) อธิบายพฤติกรรมการยึดติดกับงานประจำ (Defensive Routine) ตอต้านการเรียนรู้ และเครื่องมือในการละลายพฤติกรรมเหล่านี้โดยใช้ดุลคัชนี (BalanceScorecard) ทฤษฎีการเรียนรู้แบบวงคู่ เป็นทฤษฎีเชิงพฤติกรรมองค์กรที่ยึดหลักการป้อนกลับ (Feedback)

ทฤษฎีองค์กรฐานสารสนเทศ

การจัดการความรู้ตามทฤษฎีนี้มุ่งเน้น (Focus) อยู่ 3 ประการประการแรกองค์กรตอ้งมุ่งพฒันาคนทางานใช้ความรู้หรือกลุ่มคนทา งานใช้ความรู้ที่หมั่นฝึกฝนทางงานร่วมกันให้เกิดประสิทธิผลและประสิทธิภาพ ที่เรียกว่า “ชุมชนนักปฏิบัติ” (Community of practice หรือ COP) ประการที่สององค์กรต้องมุ่งเน้นการสร้างวิธีการปฏิบัติงานที่ดี

หลักการเรียนการสอน

การที่องค์กรภาครัฐและเอกชนทั้งหลายตื่นตัวกับระบบการจัดการความรู้ (Knowledge Management System) เข้ามาใช้พัฒนาองค์กรและบุคลากร เนื่องจากการจัดการความรู้เป็นระบบบริหาร ที่สาคัญในการจัดการบุคลากรและสารสนเทศและยังเป็นองค์ประกอบสำคัญ ส่วนหนึ่งของระบบคุณภาพ แต่การจะทาให้ระบบการจัดการความรู้ขององค์กรประสบความสำเร็จผู้บริหารจะ เป็นต้องมีความรู้และความ เข้าใจถึงทฤษฎีของการจัดการความรู้จึงจะสามารถบริหารจัดการความรู้ขององค์กรไปสู่เป้าประสงค์ที่ ต้องการได้ การบริหารจัดการความรู้ขององค์กรอัยการ จึงนำทฤษฎีด้านการจัดการความรู้ต่างๆ มาเป็นเครื่องมือสาคัญในการสร้างระบบการจัดการความรู้อัยการ ทฤษฎีการจัดการความรู้ ทฤษฎีการจัดการความรู้ที่กล่าวในบทความนี้ผู้เขียนสรุปความมาจากหนังสือ “ทฤษฎีการจัดการความรู้” ของ ดร.ณพศิษฎ์ จักรพิทักษ์ คณบดี วิทยาลัยศิลปะ สื่อและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หนังสือทฤษฎีการจัดการความรู้นั้นเป็นหนังสือประกอบการสอนวิชาศท.คร 801 การจัดการ ความรู้เชิงธุรกิจ (ATKM 801 Knowledge Management in business) ในหลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขา การจัดการความรู้ (Ph. D …

พระราชบัญญัติระเบียบ

ระบุให้ตำแหน่งอัยการสูงสุดเป็น “ประธาน” คณะกรรมการอัยการ (ก.อ.) โดยตำแหน่ง ส่วนประธาน ก.อ. ตามประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 49 ลงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 และข้อ 5

กระทรวงมหาดไทย

เป็นหน่วยงานราชการอิสระไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวงใด แต่อยู่ภายใต้การกำกับดูแล ของนายกรัฐมนตรีโดยตรงเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติหน้าที่ยิ่งขึ้น

อัยการสูงสุดไทย

ในไทยคือตำแหน่ง “อธิบดีกรมอัยการ” (เดิม) เมื่อครั้งสำนักงานอัยการสูงสุดเป็นหน่วยงานระดับกรม สังกัดกระทรวงมหาดไทย คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติแยกกรมอัยการออกจากกระทรวงมหาดไทย